หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๙)
เมื่อกลางเดือนมกราคมที่ผ่านมา ผู้เขียนและคณะได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมทางวิชาการและร่วมพิธีฉลองการเปิดอาคารอเนกประสงค์ของวัดต้าฝอซื่อ ที่เมืองกว่างโจวสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งจัดโดยภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยซุนยัตเซ็น ร่วมกับวัดต้าฝอซื่อ
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
การสวดมนต์มีวัตถุประสงค์อะไร ? มีที่มาอย่างไร ?
เราสวดมนต์มีจุดประสงค์เพื่ออะไร มีประโยชน์ หรือการสวดมนต์มีความสำคัญอย่างไรบ้าง
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
การสวดมนต์เป็นสิ่งที่เราจะต้องทำหรือเป็นหน้าที่เฉพาะของพระภิกษุ
ให้รู้เถิดว่าไม่ใช่เป็นหน้าที่พระอย่างเดียวโยมเองอย่างน้อยควรทำวัตรเช้า-เย็น ซึ่งใช้เวลาไม่นาน วัตรเช้าประมาณ ๑๕ นาที วัตรเย็นประมาณ ๑๗-๑๘ นาที จะเป็นประโยชน์กับตัวเรามาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
ประมวลภาพพิธีสวดมนต์บทธัมมจักกัปปวัตนสูตรในวันพระ ณ วัดพระธรรมกาย
พิธีสวดมนต์บทธัมมจักกัปปวัตนสูตร พิธีบูชามหาธรรมกายเจดีย์ และพิธีเวียนประทักษิณรอบมหาธรรมกายเจดีย์ ในวันพระแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ วันที่ ๑๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘ ณ มหารัตนวิหารคด วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
พลิกวิกฤต..เพราะคิดบวช
ในชีวิตของมนุษย์นั้น ช่วงเวลาที่กล่าวได้ว่า เป็นวิฤตที่สุดของชีวิต ก็คือ ช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต นั่นคือ ช่วงเวลาที่เราต้องเผชิญกับความตาย ซึ่งทุกท่าน ๆ ทราบดีอยู่แล้วว่า ทุกท่านนั้นต้องเผชิญกับช่วงเวลาวิกฤตนี้อย่างแน่นอน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก